ตัวอย่างการจัดเตรียมเอกสารสำหรับการตรวจประเมินสถานที่ผลิตเครื่องสำอาง (ภาคผนวก ก.)

ลำดับ เรื่อง หัวข้อการประเมินแบบฟอร์ม​ ตัวอย่าง QR Code
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (General information)
1.ข้อมูลทั่วไปของสถานที่ผลิต
– เอกสารข้อมูลประวัติความเป็นมา
– เอกสารข้อมูลการจดแจ้งเครื่องสำอางทุกรายการ
หมวด 1
ข้อ 1

หมวดที่ 2 บุคลากร (Personnel)

2.
บันทึก/หลักฐานการฝึกอบรมบุคลากรหมวด 2
ข้อ 2.3

หมวดที่ 3 สถานที่ผลิต (Manufacture site)
3.มาตรการ/ระบบ/วิธีการ ป้องกันสัตว์และแมลง
พร้อมบันทึกการตรวจสอบ
หมวด 3
ข้อ 3.7
หมวดที่ 4 เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์การผลิต (Equipment)
– ไม่มีเอกสาร ประเมินจากสถานที่จริง
หมวดที่ 5 สุขลักษณะ และสุขอนามัย (Hygiene and Sanitation)
4.ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานของบุคลากร ก่อนปฏิบัติงานและในขณะปฏิบัติงาน หมวด 5
ข้อ
5.1.1-5.1.3
5.หลักฐานการตรวจสุขภาพประจำปีของบุคลากร (ไม่เกิน 1 ปี)ข้อ 5.1.4
6.วิธีการจัดการควบคุมของเสียจากการผลิต
– หลักฐานวิธีปฏิบัติงานและบันทึกการจัดการของเสีย
ข้อ 5.2.3
7.วิธีการจัดน้ำทิ้งที่มีประสิทธิภาพ (กรณีใช้น้ำในการทำความสะอาด)
– หลักฐานวิธีปฏิบัติงานและบันทึกการบำบัดน้ำทิ้ง
ข้อ 5.2.5
8. มาตรการเพื่อความปลอดภัย เช่น อุปกรณ์ดับเพลิง และชุดปฐมพยาบาลข้อ 5.2.6
9.วิธีการทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์การผลิต และการฝึกอบรมบุคลากร ข้อ 5.3.2
10.บันทึกการทำความสะอาดเป็นลายลักษณ์อักษรข้อ 5.3.3
หมวดที่ 6 การดำเนินการผลิต (Production process)
11.
ฉลากบ่งชี้สถานะวัตถุดิบ/วัสดุบรรจุ
ข้อ 6.1.3
12.เอกสารผลการทดสอบคุณภาพ
/ใบรับรอง COA ของวัตถุดิบ
ข้อ 6.1.4
13. บันทึกแสดงการรับ-การจ่ายวัตถุดิบและวัสดุบรรจุ (FIFO)ข้อ 6.1.5
14.บันทึกการตรวจสอบคุณภาพน้ำ
(กรณีใช้น้ำเป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง)
ข้อ 6.1.6
15.มาตรการป้องกันการปนเปื้อนข้ามระหว่างเครื่องสำอาง
(กรณีในห้องผลิตทำการผลิตหลายตำรับพร้อมกัน)
-บันทึกการตรวจสอบการป้องกันการปนเปื้อน
หมวด 6
ข้อ 6.2.1.4
16.วิธีการกำหนด Lot การผลิต
– บันทึกแสดงการกำหนดเลข Lot
หมวด 6
ข้อ 6.2.1.6
17.ข้อกำหนดเครื่องสำอางรอการบรรจุ (Bulk) หมวด 6
ข้อ 6.2.1.7
18.วิธีการปฏิบัติงานในกระบวนการบรรจุ
– บันทึกการบรรจุ
หมวด 6
ข้อ 6.2.2.1
19.การตรวจสอบความถูกต้องของวัสดุบรรจุ
ก่อนนำไปใช้
หมวด 6
ข้อ 6.2.2.2
20.การตรวจสอบฉลากเครื่องสำอางก่อนการนำไปใช้ หมวด 6
ข้อ 6.2.2.3
21.การตรวจสอบความถูกต้องของปริมาณสุทธิ หมวด 6
ข้อ 6.2.2.5
21.
(Crical defect)
หลักฐานการตรวจวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องสำอางรอการบรรจุ และเครื่องสำอางสำเร็จรูป หมวด 7
ข้อ 7.1
หมวดที่ 7 การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
22.วิธีการเก็บตัวอย่างเครื่องสำอางสำเร็จรูป retain sample (ควรตรวจสอบปริมาณให้เป็นไปตามระเบียบกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ฉบับล่าสุด)
หมวด 7
ข้อ 7.2
หมวดที่ 8  เอกสารการผลิต (Production documents)
23.
(Crical defect)
สูตรแม่บท (Master formula) และขั้นตอนกระบวน การผลิตทุกรายการ หมวด 8
ข้อ 8.1
24.
(Crical defect)
บันทึกการผลิตเครื่องสำอาง หมวด 8
ข้อ 8.2
หมวดที่ 9  การเก็บรักษา(Storage)
25.บันทึกการตรวจสอบการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่าง หมวด 9
ข้อ 9
หมวดที่ 10  ข้อร้องเรียน(Complaints)
26.เอกสารขั้นตอนการจัดการข้อร้องเรียน
– บันทึก/แบบฟอร์มการจัดแก้ไขข้อร้องเรียน
หมวด 10
ข้อ 10.1
27.บันทึกรายงานอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้เครื่องสำอาง หมวด 10
ข้อ 10.3
28.มาตรการเรียกคืนผลิตภัณฑ์ – บันทึกการเรียกคืนเครื่องสำอาง หมวด 10
ข้อ 10.4

ประกาศแจ้งเตือนไม่ให้ใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางประเทศพม่า จำนวน 12 รายการ

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา โดยศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Health Product Vigilance Center: HPVC) กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ขอเรียนแจ้งข่าว เตือนภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพไปยังหน่วยงานเครือข่ายสาธารณสุขทั่วประเทศ ดังนี้

1.HIJA BUEAUTY/ Apple Lipstick พบสาร Rhodamine B

2. PEARL SKIN / Pearl & Ginger Cream พบสาร Mercury

3. ANYLADY / Pretty Girl MAKE UP PALETTE (eyeshadow/blusher/ highlighter/ lipstick/eyebrow powder) พบสาร Rhodamine B และ Lead

4. lameila / 16 COLOR EYESHADOW–01 พบสาร Lead

5. Lidanxiu / LIP STICK พบสาร Rhodamine B

6. Anylady/ 12 color Eyeshadow Palette(01) พบสาร Rhodamine B และ Lead

7. Collagen Plus Vit E / Day & Night Cream พบสาร Mercury

8. IMAN OF NOBLE / Liquid shadow fashion Eyeshadow(03) พบสาร Rhodamine B

9. MILA COLOR / PRIMER EYEBROW kit – 01 พบสาร Lead

10. IU Beauty / LIP GLOSS – 02 พบสาร Rhodamine B

11. Kiss Beauty / FASHION COLOUR MAKEUP KIT-2 พบสาร Rhodamine B และ Lead

12. L`CHEAR / To Love Sweet Make Up Kit-2 พบสาร Lead

การต่ออายุ ใบอนุญาตยา เพื่อใช้ในปี 2567

หนังสือราชการแจ้งเรื่องการต่ออายุ

  1. การต่ออายุใบอนุญาตเกี่ยวกับยา ยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 เพื่อใช้ในปี พ.ศ. 2567
  2. คำอธิบายเกี่ยวกับค่าธรรมเนียม ขั้นตอน ช่องทางการต่ออายุ
  3. ใบอนุญาตเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 วัตถุออกฤทธิ์ในประเภท 3 หรือประเภท 4 เนื่องจากยังไม่มีกฎกระทรวงเรื่องการต่ออายุ จึงยังไม่มีการต่ออายุในปีนี้

การตรวจประเมินตามวิธีการปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน (GPP) สำหรับร้านยา ข.ย. 1, 2, 3 และ 4

  1. ร้านยา ข.ย. 1 ที่ต้องยื่นตรวจประเมิน GPP ในปี 2566 มีเลขที่ใบอนุญาตดังนี้
    **ยกเว้น ร้านยาคุณภาพ ไม่ต้องยื่นตรวจประเมิน ให้แสดงสำเนาหนังสือรับรองร้านยาคุณภาพแทน**
  2. ร้านยา ข.ย. 2, 3 และ 4 ต้องยื่นตรวจประเมิน GPP ทุกร้าน

    หากประสงค์ยื่นต่ออายุผ่านระบบ SKYNET ให้ตรวจสอบว่าร้านของท่านได้ยื่นคำขอตรวจ GPP / เป็นร้านยาคุณภาพที่ได้รับการรับรอง เรียบร้อยแล้ว จึงยื่นคำขอต่ออายุใน SKYNET หากพบว่าไม่ได้ยื่นการประเมินดังกล่าว จะคืนคำขอทันที

กรณีประสงค์ยื่นเอกสารต่ออายุเองที่ สสจ. สมุทรปราการ

  1. จองคิว ผ่านระบบออนไลน์ก่อนเข้ารับบริการ
  2. เตรียมเอกสารให้ครบถ้วน
    กรณีต้องการแก้ไข / เปลี่ยนแปลงรายการในใบอนุญาต ต้องดำเนินการผ่านระบบ SKYNET เท่านั้น
  3. ชำระเงินโดยการโอน / scan จ่าย ที่ OSSC ชั้น 1 ของกลุ่มงานคุ้มครองฯ

คู่มือผู้ประกอบการในการต่ออายุผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (SKYNET)

  1. การสมัครบัญชี Open ID
    วีดีทัศน์ OpenID ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
  2. การเปิดสิทธิ์เข้าใช้งานระบบ อย
    2.1 ผู้รับอนุญาตเป็นบุคคลธรรมดา เมื่อทำขั้นตอนที่ 1. แล้ว สามารถเข้าใช้งานระบบได้เลยโดยไม่ต้องเปิดสิทธิ์ (คลิกปุ่ม “ประชาชน“)
    2.2 ผู้รับอนุญาตเป็นนิติบุคคล / ผู้รับอนุญาตบุคคลธรรมดามอบอำนาจ   ผู้ดำเนินกิจการ (กรณีผู้รับอนุญาตเป็นนิติบุคคล) หรือผู้รับมอบอำนาจ จัดทำเอกสารขอเปิดสิทธิ์ ยื่นที่ สสจ. สมุทรปราการ หลังจากทำการเปิดสิทธิ์จึงจะเข้าใช้งานระบบ อย. ได้ โดยใช้ Username และ Password ในขั้นตอนที่ 1 (คลิกปุ่ม “ผู้ประกอบการ“)
    เอกสารเปิดสิทธิ์
  3. การยื่นต่ออายุ
    3.1 วิดีทัศน์ อธิบายการใช้ระบบต่ออายุ (***Update วันที่ 03/10/2566***)
    3.2 คู่มือการต่ออายุสำหรับผู้ประกอบการ
    ภาค 1 การตั้งค่าและการใช้งานทั่วไป
    ภาคผนวก 6 ระบบการต่ออายุ
  4. เอกสารที่ต้อง Scan เป็นไฟล์ PDF
    4.1 ใบรับรองแพทย์ ระบุ 5 โรค ตามประกาศฯ ออกให้ไม่เกิน 3 เดือน           
           ของผู้รับอนุญาต/ ผู้ดำเนินกิจการ และผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการทุกคน
    4.2 คำรับรองของผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการทุกคน
    4.3 แผนที่ตั้งร้านยา
    4.4 รูปถ่ายด้านหน้าสถานที่ที่ได้รับอนุญาต (เห็นป้ายชื่อสถานที่)
    4.5 สำเนาหนังสือรับรองร้านยาคุณภาพที่อยู่ในอายุรับรอง (มากกว่าปี 2566) เฉพาะร้านยาคุณภาพ
  5. เมื่อชำระเงินในระบบแล้ว จึงส่งเอกสาร ใบอนุญาต/ รูปถ่ายผู้ดำเนินกิจการ (ถ้าช่องเต็ม) /ชื่อ-ที่อยู่ที่ให้จัดส่งใบอนุญาต กลับให้ สสจ. ทางไปรษณีย์

Link ดาวน์โหลดแบบฟอร์มต่างๆ

  1. แบบฟอร์มต่ออายุ สำหรับร้านขายยาแผนปัจจุบันทุกประเภท
  2. แบบฟปร์มต่ออายุ สำหรับสถานที่นำสั่งฯ ยาแผนปัจจุบัน
  3. แบบฟอร์มต่ออายุ สำหรับยาแผนโบราณ (เฉพาะยาสัตว์)
  4. เอกสารอื่นๆ ดูได้ที่ https://fdasamutprakan.com/form/drug/

งานยา การยื่นขออนุญาตด้านยา ผ่านระบบ E-submission

ขั้นตอนการขออนุญาตสถานที่ด้านยา (คำขอใหม่/แก้ไขเปลี่ยนแปลง) ผ่านระบบ SKYNET  

  1.  ลงทะเบียน OPEN ID   https://accounts.egov.go.th  
     (หากมีปัญหาในการสมัครเพื่อสร้างบัญชีผู้ใช้งาน โปรดติดต่อ  contact@dga.or.th  หรือโทร 0 2612 6060)
  2.  ยื่นคำขอเปิดสิทธิ์เข้าใช้งานระบบสถานที่ด้านยา  (ยื่นที่ สสจ.)  (คลิก)
    รายการเอกสารที่ใช้ ดังนี้
         (1)  หนังสือแจ้งความประสงค์ พร้อม สำเนา  1  ชุด
                  –  กรณีผู้ดำเนินกิจการ ประสงค์เข้าใช้งานระบบด้วยตนเอง
                  –  กรณีที่มอบอำนาจให้บุคคลอื่น  เข้าใช้งานระบบแทน
         (2) หนังสือมอบอำนาจสิทธิ์ระบบ skynet
  3. วิธีการใช้งานระบบสถานที่ด้านยา
         (1)   คู่มือสำหรับผู้ประกอบการ การใช้งานระบบสถานที่ด้านยา   
         (2)   Slides อบรมสถานที่ด้านยาสำหรับผู้ประกอบการ 7 มิ.ย. 66   
         (3)   VDO คู่มือการใช้งานระบบ 

  1. ขออนุมัติชื่อสถานที่ และแบบแปลนสถานที่ (ยื่นที่ สสจ. หรือปรึกษาทาง Line @fda11)
  2. จัดเตรียมสถานที่และป้ายตามกฎหมาย (ศึกษาหลักเกณฑ์การจัดเตรียมสถานที่)
  3. ยื่นคำขอผ่านระบบ  SKYNET
    ** สามารถยื่นเอกสารคำขอใหม่ ในรูปแบบกระดาษ ที่ สสจ. เพื่อให้เจ้าหน้าที่พิจารณาความถูกต้องครบถ้วนก่อนยื่นในระบบ (นัดหมายล่วงหน้า)  เอกสารทั้งหมดก่อนส่งเจ้าหน้าที่ ให้ scan เป็นไฟล์ PDF ไว้ยื่นในระบบ E-SUB ด้วย **

งานตรวจเฝ้าระวังสถานที่ผลิต/นำเข้า เครื่องสำอาง


ข่าว/ประกาศ ประชาสัมพันธ์…

หนังสือแจ้งการตรวจเฝ้าระวังสถานที่ผลิตเครื่องสำอางตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการผลิตหรือนำเข้าเครื่องสำอาง พ.ศ. 2561 ภายใต้โครงการเครื่องสำอางปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2567

📁แบบประเมินตัวเองสถานที่ผลิตเครื่องสำอาง (คลิก) 
📁แบบประเมินตัวเองสถานที่นำเข้าและสถานที่เก็บเครื่องสำอาง(คลิก) 


คู่มือแนวทางการตรวจสอบสถานที่ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการผลิต หรือนำเข้าเครื่องสำอาง พ.ศ. 2561 (ฉบับปรับปรุง)


ตัวอย่างแบบบันทึก แบบฟอร์ม และตัวอย่างการจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ของสถานที่ผลิตเครื่องสำอาง

ลำดับเรื่องหัวข้อการประเมินแบบฟอร์ม​ตัวอย่างQR Code
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (General information)
1.ข้อมูลทั่วไปของสถานที่ผลิต
– เอกสารข้อมูลประวัติความเป็นมา
– เอกสารข้อมูลการจดแจ้งเครื่องสำอางทุกรายการ
หมวด 1
ข้อ 1
หมวดที่ 2 บุคลากร (Personnel)

2.
บันทึก/หลักฐานการฝึกอบรมบุคลากรหมวด 2
ข้อ 2.3

หมวดที่ 3 สถานที่ผลิต (Manufacture site)
3.มาตรการ/ระบบ/วิธีการ ป้องกันสัตว์และแมลง
พร้อมบันทึกการตรวจสอบ
หมวด 3
ข้อ 3.7
หมวดที่ 4 เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์การผลิต (Equipment)
– ไม่มีเอกสาร (ประเมินจากสถานที่จริง)
หมวดที่ 5 สุขลักษณะ และสุขอนามัย (Hygiene and Sanitation)
4.ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานของบุคลากร ก่อนปฏิบัติงานและในขณะปฏิบัติงานหมวด 5
ข้อ
5.1.1-5.1.3
5.หลักฐานการตรวจสุขภาพประจำปีของบุคลากร (ไม่เกิน 1 ปี)ข้อ 5.1.4
6.วิธีการจัดการควบคุมของเสียจากการผลิต
– หลักฐานวิธีปฏิบัติงานและบันทึกการจัดการของเสีย
ข้อ 5.2.3
7.วิธีการจัดน้ำทิ้งที่มีประสิทธิภาพ (กรณีใช้น้ำในการทำความสะอาด)
– หลักฐานวิธีปฏิบัติงานและบันทึกการบำบัดน้ำทิ้ง
ข้อ 5.2.5
8.มาตรการเพื่อความปลอดภัย เช่น อุปกรณ์ดับเพลิง และชุดปฐมพยาบาลข้อ 5.2.6
9.วิธีการทำความสะอาดเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์การผลิต และการฝึกอบรมบุคลากรข้อ 5.3.2
10.บันทึกการทำความสะอาดเป็นลายลักษณ์อักษรข้อ 5.3.3
หมวดที่ 6 การดำเนินการผลิต (Production process)
11.
ฉลากบ่งชี้สถานะวัตถุดิบ/วัสดุบรรจุ
ข้อ 6.1.3
12.เอกสารผลการทดสอบคุณภาพ
/ใบรับรอง COA ของวัตถุดิบ
ข้อ 6.1.4
13.บันทึกแสดงการรับ-การจ่ายวัตถุดิบและวัสดุบรรจุ (FIFO)ข้อ 6.1.5
14.บันทึกการตรวจสอบคุณภาพน้ำ
(กรณีใช้น้ำเป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง)
ข้อ 6.1.6
15.มาตรการป้องกันการปนเปื้อนข้ามระหว่างเครื่องสำอาง
(กรณีในห้องผลิตทำการผลิตหลายตำรับพร้อมกัน)
-บันทึกการตรวจสอบการป้องกันการปนเปื้อน
หมวด 6
ข้อ 6.2.1.4
16.วิธีการกำหนด Lot การผลิต
– บันทึกแสดงการกำหนดเลข Lot
หมวด 6
ข้อ 6.2.1.6
17.ข้อกำหนดเครื่องสำอางรอการบรรจุ (Bulk)หมวด 6
ข้อ 6.2.1.7
18.วิธีการปฏิบัติงานในกระบวนการบรรจุ
– บันทึกการบรรจุ
หมวด 6
ข้อ 6.2.2.1
19.การตรวจสอบความถูกต้องของวัสดุบรรจุ
ก่อนนำไปใช้
หมวด 6
ข้อ 6.2.2.2
20.การตรวจสอบฉลากเครื่องสำอางก่อนการนำไปใช้หมวด 6
ข้อ 6.2.2.3
21.การตรวจสอบความถูกต้องของปริมาณสุทธิหมวด 6
ข้อ 6.2.2.5
หมวดที่ 7 การควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
21.
(Crical defect)
หลักฐานการตรวจวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องสำอางรอการบรรจุ และเครื่องสำอางสำเร็จรูปหมวด 7
ข้อ 7.1
22.วิธีการเก็บตัวอย่างเครื่องสำอางสำเร็จรูป retain sample (ควรตรวจสอบปริมาณให้เป็นไปตามระเบียบกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ฉบับล่าสุด)หมวด 7
ข้อ 7.2
23.
(Crical defect)
สูตรแม่บท (Master formula) และขั้นตอนกระบวน การผลิตทุกรายการหมวด 8
ข้อ 8.1
หมวดที่ 8  เอกสารการผลิต (Production documents)
24.
(Crical defect)
บันทึกการผลิตเครื่องสำอางหมวด 8
ข้อ 8.2
หมวดที่ 9  การเก็บรักษา(Storage)
25.บันทึกการตรวจสอบการควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสงสว่างหมวด 9
ข้อ 9
หมวดที่ 10  ข้อร้องเรียน(Complaints)
26.เอกสารขั้นตอนการจัดการข้อร้องเรียน
– บันทึก/แบบฟอร์มการจัดแก้ไขข้อร้องเรียน
หมวด 10
ข้อ 10.1
27.บันทึกรายงานอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้เครื่องสำอางหมวด 10
ข้อ 10.3
28.มาตรการเรียกคืนผลิตภัณฑ์ – บันทึกการเรียกคืนเครื่องสำอางหมวด 10
ข้อ 10.4

ตัวอย่างการทำฉลากเครื่องสำอางทั่วไป 

ตัวอย่างการจัดทำฉลากเครื่องสำอาง

ตัวอย่างการทำฉลากเครื่องสำอางที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์เพื่อสุขอนามัยสำหรับมือ

cosmeticAlc_Jan642


คู่มือแนวทางการโฆษณาเครื่องสำอาง (คลิก) Continue reading